รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
ไม้ตะเคียนทอง
: การเจริญเติบโตในแปลงปลูกป่าภาคอีสานของประเทศไทย
(
Northeast of Thailand)
Hopea odorata Roxb.: Growth assessment in plantation in the
อภิสิทธิ์ สิมศิริ
1 Apisit Simsiri
ABSTRACT
The experimental plots of
meters, in 1989. Located at Skaerat ex-situ gene conservation station, Wang Nam Kiew
Distirict Nakhon ratchasima Province. Silvicultural techniques in plantation for
odorata
results revealed that in average, survival rate 95%, total height 8.79 meter, diameter at breast
height 11.27 centimeter and wood production 92.65 cu.m/hactar. For minor productions in
rainy season, eatable mushrooms and under growths vegetation were naturally sprung up
under canopy.
Hopea odorata Roxb. had been established, planted at 3x3Hopeawere carried out and after 12 years of age, an early growth evaluation was made. The
Keywords
: Hopea odorata, reforestation.
บทคัดย่อ
ไม้ตะเคียนทองเป็นไม้ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ไม้ยาง
ประมาณ
สร้างบ้านเรือนและเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เป็นเวลานานมาแล้ว โดยเฉพาะประชากรในประเทศแถบเอ
เชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศเมียนม่าร์ เวียตนาม เขมร ลาว และไทย เป็นต้น สำ หรับในประเทศ
ไทยมีการนำ ไม้ตะเคียนทองจากป่าธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ค่อนข้างมากจนเกินกำ ลังผลิต
ของป่า แต่ปริมาณไม้ตะเคียนทองยังมีไม่เพียงพอที่จะสนองตอบต่อความต้องการของประชากรในประเทศ
มาโดยตลอด การปลูกสร้างสวนป่าไม้ตะเคียนทองเป็นหนทางสำ คัญที่จะช่วยสนองตอบความต้องการใช้
ประโยชน์เนื้อไม้ตะเคียนทองในด้านต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดไป ภาคอีสานของประเทศไทยมีเนื้อที่
ประมาณ
ต่างๆ ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์เป็นเนื้อที่รวมกันมากกว่า
ปลูกสร้างสวนป่าเพื่อการเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาด้านการปลูกและบำ รุงรักษาสวนป่าไม้
ตะเคียนทองในภาคอีสาน ได้ดำ เนินการที่สถานีอนุรักษ์พันธุ์ไม้ป่าสะแกราช อำ เภอวังนํ้าเขียว จังหวัด
นครราชสีมาเมื่อปี พ
ปลูก
(Dipterocarpaceae) มีความสูง20-40 เมตร เปน็ ที่รูจั้กกันดีโดยทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากมีการนำ เนื้อไม้มาใช้ประโยชน์ในการก่อ1 ใน 3 ของเนื้อที่ประเทศ และผลจากการสำ รวจพบว่ามีพื้นที่ที่ปล่อยให้ว่างเปล่าเป็นแปลงขนาด2 ล้านไร่ จึงเหมาะที่จะนำ พื้นที่ดังกล่าวมาใช้ในการ.ศ. 2532 สรุปผลเบื้องต้นของการเจริญเติบโตไม้ตะเคียนทองเมื่ออายุ 12 ปี ระยะ3x3 เมตร อัตราการรอดตายร้อยละ 95 ความสูงเฉลี่ย 8.79 เมตร ความโตของเส้นผ่าศูนย์กลางลำ
1
นักวิชาการป่าไม้ 8ว ศูนย์วนวัฒนวิจัยที่ 2 จังหวัดนครราชสีมา
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
ต้นที่ระดับอก
บาศก์เมตร
11.27 เซนติเมตร และผลผลิตเนื้อไม้เฉลี่ย 92.65 ลูกบาศก์เมตร/เฮกแตร์ (14.82 ลูก/ไร่)
นอกจากนี้ในแปลงสวนป่าไม้ตะเคียนทองตั้งแต่อายุ
และพืชผักหลายชนิดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติใต้เรือนยอด เป็นผลิตผลรองเพื่อการบริโภคและ
จำ หน่ายก่อให้เกิดรายได้แก่ผู้ดำ เนินการอีกทางหนึ่งตลอดไป
5 ปีเป็นต้นไป ในช่วงฤดูฝนมีเห็ดชนิดกินได้/หรือเพื่อ
คำ หลัก
: ไม้ตะเคียนทอง การปลูกและบำ รุงรักษา
คำ นำ
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับพันธุ์ไม้และเทคนิคต่างๆ ในด้านการปลูกและบำ รุงรักษาพันธุ์ไม้นั้น เป็นสิ่ง
จำ เป็นลำ ดับแรกที่ผู้ประสงค์จะดำ เนินการลงทุนลงแรงปลูกสร้างสวนป่าต้องการจะรู้เพื่อเป็นข้อมูลในการ
พิจารณาตัดสินใจดำ เนินการพันธุ์ไม้แต่ละวงศ์แต่ละชนิดมีข้อมูลพื้นฐานและเทคนิคในด้านการปลูกบำ รุง
แตกต่างกัน โดยเฉพาะการปลูกสร้างสวนป่าของพันธุ์ไม้ในวงศ์ไม้ยาง
ที่เจริญงอกงามได้ดีในพื้นที่เฉพาะแห่ง
ล้อมให้เหมาะสมแล้วเท่านั้น พันธุ์ไม้ในวงศ์ไม้ยางประกอบด้วยไม้ชนิดต่างๆ รวมประมาณ
เป็นไม้มีค่าทางเศรษฐกิจมีความแข็งแรงทนทานเหมาะแก่การใช้งานต่างๆ มากกว่า
2540)
แล้งและป่าเต็งรัง ไม้ในวงศ์นี้แม้ว่าจะมีอยู่หลายชนิดก็ตามแต่ยังมิได้มีการปลูกสร้างสวนป่าผืนใหญ่กันขึ้น
มาเลย มีเพียงไม่กี่ชนิดที่นำ มาปลูกเป็นสวนบ้างแล้ว เช่น ไม้ยางนา
ตะเคียนทอง
ไทยและประเทศใกล้เคียง เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีคุณภาพดีทั้งด้านความแข็งแรงและความทนทาน
และคณะ
ด้านการใช้ประโยชน์ไม้ตะเคียนทองในการต่อเรือนั้น ณรงค์
ตระการตาของกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคจำ นวน
ตะเคียนทองทั้งหมด นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงการใช้ประโยชน์ของไม้ตะเคียนทองในการต่อเรือประมง
เพื่อการจับปลาในท้องทะเลทั้งระยะใกล้และระยะไกลประมาณ
แม้ว่าไม้ตะเคียนทองจะมีการขึ้นกระจายอยู่กว้างขวางในทุกภูมิภาคของประเทศ แต่ผลจากการตัดไม้
ทำ ลายป่าในอดีตทำ ให้จำ นวนต้นไม้ชนิดนี้ที่เหลืออยู่มีน้อย โดยกระจายเป็นกลุ่มขนาดเล็กภายในบริเวณที่
สาธารณะ วัด โรงเรียน และหัวไร่ปลายนา หากคิดคำ นวนแล้วเป็นจำ นวนน้อยนิดไม่สามารถสนองตอบการ
ที่จะนำ มาใช้ประโยชน์ได้ ในขณะที่ความต้องการใช้ประโยชน์จากต้นไม้ตะเคียนทองยิ่งเพิ่มปริมาณมากขึ้น
ซึ่งหากหวังพึ่งแหล่งผลิตที่ได้จากป่าธรรมชาติแล้วย่อมเป็นไปไม่ได้ ปัจจุบันต้องนำ เข้าไม้ตะเคียนทอง
จำ นวนมากในแต่ละปีจากประเทศใกล้เคียงอันได้แก่ เมียนม่าร์และเขมร การสำ รวจปริมาณไม้ตะเคียนทอง
ในป่าธรรมชาติที่เป็นเขตป่าอนุรักษ์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่าไม้ตะเคียนทองมีจำ นวนลดลงจน
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
(Dipterocarpaceae) ซึ่งเป็นพันธุ์ไม้(Site specific species) หรือเป็นพื้นที่ที่ได้รับการจัดการสภาพแวด65 ชนิด และ10 ชนิด (บุญชุบ,มีกระจายอยูทั่วไปเกือบทั้งประเทศในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ทั้งในสภาพป่าดิบชื้น ป่าดิบ(Dipterocarpus alatus) สำ หรับไม้(Hopea odorata Roxb.) เปน็ พันธุไ์ ม้ในวงศ์ไม้ยางที่มีความสำ คัญทางเศรษฐกิจของประเทศ(ณรงค์, 2528) ใช้ประโยชน์สำ หรับงานก่อสร้างทำ เครื่องเรือน ต่อกระบะรถยนต์และต่อเรือ สำ หรับใน(2542) ได้บรรยายให้เห็นภาพสวยงามวิจิตร48 ลำ จากจำ นวน 52 ลำ ว่าสร้างด้วยไม้40,000–60,000 ลำ ด้วย ในประเทศไทย7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
เป็นที่น่าวิตก อัชฎา
ตะเคียนทองเฉลี่ยต่อไร่แยกเป็นไม้ขนาดใหญ่เพียงจำ นวน
จำ นวนลูกไม้
(2542) รายงานผลการสำ รวจไม้ตะเคียนทองในเขตอุทยานแห่งชาติภูพานว่า มีไม้0.104 ต้น ปริมาตร 0.045 ลูกบาศก์เมตร(Saplings) และจำ นวนกล้าไม้ (Seedlings) ที่จะเจริญเติบโตขึ้นมาทดแทนไม้ใหญ่มีจำ นวน
1.207
ต้น และ 1.274 ต้น ตามลำ ดับ แต่หากพิจารณาถึงสภาพป่าธรรมชาติที่มีเหลือเพียง 24–25%
ของพื้นที่ประเทศไทยแล้วก็สามารถที่จะประมาณการได้ว่าในป่าธรรมชาติของประเทศไทยคงจะยังเหลือไม้
ตะเคียนทองยืนต้นที่พอจะตัดมาแปรรูปใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้น้อยกว่าที่คาดคิดเหลือเกิน
นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถที่
ทรงพระราชทานแนวทางการปลูกป่าจนทำ ให้บังเกิดโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯขึ้นทำ ให้
ประชาชนทุกหมู่เหล่าได้ร่วมแรงร่วมใจในการปลูกและบำ รุงรักษาป่าในทุกภาคของประเทศไทยประชาชน
ได้รับการปลุกจิตสำ นึกและเร่งเร้าให้ช่วยกันปลูกป่า พรรณไม้นานาชนิดได้มีการนำ เสนอโดยทางราชการสู่
ประชาชนเพื่อให้มีการคัดเลือกปลูกพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ปลูกของแต่ละภูมิภาค สำ หรับในภาคอีสาน
พันธุไ์ มใ้ นวงศ์ไม้ยางที่เหมาะสมแก่การปลูกมีอยู่
2539)
ดำ เนินการปลูกไม้ชนิดนี้ในลักษณะเป็นแปลงที่มีเนื้อที่ปลูกขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น บุคคลที่ให้ความสนใจ
ในด้านการปลูกบำ รุงไม้ตะเคียนทองมีทั้งที่อยู่ในภาครัฐและประชาชนโดยทั่วไป แต่เป็นที่ทราบกันดีว่าการ
ปลูกไม้ในวงศ์ไม้ยางซึ่งเป็นไม้ป่าไม่ผลัดใบได้มีการทดลองปลูกในหลายประเทศ ปัญหาที่มักประสบก็คือ
การปรับตัวของกล้าไม้ต่อความแห้งแล้งในพื้นที่ทีเปิดโล่งซึ่งกระทำ ได้ไม่ดีเท่าที่ควร
จากนี้ผูด้ ำ เนินการอาจประสบกับปัญหาของเรื่องเมล็ดไม้ตะเคียนทอง เช่นเดียวกับไม้วงศ์ไม้ยางชนิดอื่นๆ
คือเมล็ดเป็นพวก
นี้ไม้ตะเคียนทองจะไม่ติดเมล็ดทุกปีแต่จะให้เมล็ด
ครั้งก็จะให้เมล็ดไม่มาก เนื่องจากดอกถูกโรคและแมลงทำ ลายและร่วงหล่นเสียก่อนได้รับการผสมเกสร
2 ชนิด คือไม้ตะเคียนทอง และไม้ยางนา (กรมป่าไม้,จนถึงปัจจุบันนี้มีผู้ตระหนักถึงประโยชน์และคุณค่าของไม้ตะเคียนทองพร้อมทั้งให้ความสนใจที่จะ(พิทยา, 2540) นอกRecalcitrant สูญเสียความมีชีวิต (Viability) เร็วไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน นอกจาก2-3 ปีต่อครั้ง (ประโชติ และคณะ, 2542) และแต่ละ
(
ตะเคียนทอง โดยเฉพาะการปลูกไม้ตะเคียนทองที่มีโครงการดำ เนินการในพื้นที่ปลูกเป็นแปลงขนาดใหญ่
ลงทุนค่อนข้างมากก็มีความจำ เป็นต้องได้ข้อมูลเบื้องต้นในหลายๆ ด้านเพื่อประกอบการพิจารณาก่อนที่จะ
ดำ เนินการ โดยเฉพาะจะเป็นข้อมูลด้านเทคนิค และวิธีการปลูกบำ รุงไม้ตะเคียนทองที่จะใช้ดำ เนินการใน
พื้นที่ภาคอีสานซึ่งเป็นพื้นที่กว้างใหญ่มีเนื้อที่ประมาณ
เนื้อที่ประเทศ
ไปจากภาคอื่นๆ ของประเทศค่อนข้างมาก การศึกษาครั้งนี้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้
ตะเคียนทองนอกถิ่นกำ เนิดที่เริ่มดำ เนินการมาตั้งแต่ปี พ
ต้นของไม้ตะเคียนทองในช่วงอายุต่างๆ กันในด้านการปลูกและบำ รุงรักษา และผลผลิตในรูปเนื้อไม้ใน
แปลงปลูกป่าไม้ตะเคียนทองอายุ
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
เจษฎา และคณะ, 2527) ซึ่งเรื่องต่างๆ เหล่านี้ จะเป็นปัญหาต่อการดำ เนินการปลูกสร้างสวนป่าไม้106 ล้านไร่คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน 3 ของ(เพิ่มพูน, 2527) ที่มีลักษณะทั้งทางภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ แตกต่าง.ศ. 2532 วัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเบื้อง12 ปี (พ.ศ. 2543) ในพื้นที่ภาคอีสานของประเทศไทย7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
อุปกรณ์และวิธีการ
1.
ที่ตั้ง สภาพพื้นที่ และประวัติแปลงทดลอง
แปลงทดลองอยู่ในพื้นที่สถานีอนุรักษ์พันธุ์ไม้ป่าสะแกราช อำ เภอวังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา
ตั้งอยู่บริเวณเส้นรุ้งที่
เป็นพื้นที่ราบเชิงเขามีความลาดชันเล็กน้อย สภาพป่าดั้งเดิมเป็นป่าดิบแล้ง ต่อมาถูกบุกรุกแผ้วถางเพื่อ
ปลูกข้าวโพดและมันสำ ปะหลังและปล่อยทิ้งร้างไว้ มีวัชพืชหลักคือหญ้าคาและหญ้าพงขึ้นอยู่ทั่วไป ประเภท
ของดิน
(pH = 5.4)
และชั้น
14° 12′ N เส้นแวงที่ 101° 15′E อยูสู่งจากระดับน้ำ ทะเลปานกลาง 420 เมตร(Type of soil) คือ Moderately moist red yellow podzolic soil ดินชั้นบนเป็นดิน Sandy loamความลึกของดินชั้น A ประมาณ 20-50 เซนติเมตร ชั้น B ลึกประมาณ 50-60 เซนติเมตรC ลึกประมาณ 60-80 เซนติเมตร วัตถุต้นกำ เนิดดินเป็นหินทราย (Sand stone)
สภาพภูมิอากาศบริเวณแปลงทดลอง มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายปี
ฝนตกเฉลี่ยในรอบปี
ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนพฤศจิกายน ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย
1,100 มลลิเมตร จำ นวนวันที่173 วัน เดือนสิงหาคมมีจำ นวนวันที่ฝนตกสูงสุดคือ 15 วัน ช่วงระยะเวลาฝนตกอยู่70% อุณหภูมิเฉลี่ยรายปี 25.9°C
อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด
31.1°C อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด 22.5°C (Puriyakorn et al., 1988)
2.
การวางแผนการทดลอง
แปลงทดลองเดิมที่ได้เริ่มดำ เนินการตั้งแต่ปี
2532 วางผังการทดลองเป็นแบบ Split plot design
เนื้อที่แปลงทดลองรวม
36 ไร่ ประกอบด้วย 4 ซํ้า (Replicates) แต่ละซํ้า ประกอบด้วย 3 Main plots
ขนาด
กล้วยนํ้าว้า
ไม้ร่มเงา แต่ละ
กำ จัดวัชพืชในแปลงปลูกโดยการถากโคนต้นตะเคียนทองไปตามยาวของแถวปลูกข้างละ
40x120 เมตร หน่วยทดลอง (Treatment units) ประกอบด้วยการปลูก 3 ลักษณะ คือ การปลูก, ปลูกมะละกอ ให้ร่มเงาระหว่างแถวปลูกไม้ตะเคียนทอง และการปลูกไม้ตะเคียนทองโดยไม้มีMain plots ประกอบด้วย 3 Sub-plots ขนาด 40x40 เมตร หน่วยทดลองย่อยเป็นการ1 เมตร ปีละ 2
ครั้ง
, 3 ครั้ง และ 4 ครั้ง (อภิสิทธิ์ , 2532)
3.
การปลูกกล้าไม้ตะเคียนทองและปลูกพืชเกษตรให้ร่มเงา
เมื่อเตรียมพื้นที่แปลงทดลองพร้อมทั้งปักไม้หลักกำ หนดระยะปลูก
พืชเกษตรคือหน่อกล้วยนํ้าว้าและกล้ามะละกอระหว่างแถวที่จะปลูกต้นไม้ล่วงหน้าประมาณ
ปลูกกล้าไม้ตะเคียนทอง เมื่อมีฝนตกจนดินมีความชื้นเพียงพอจึงเริ่มปลูกต้นไม้ โดยใช้กล้าไม้ตะเคียนทอง
อายุ
เฉลี่ยที่ระดับคอราก
เมล็ดไม้มาแยกเพาะชำ เตรียมกล้าไม้และผสมคละกล้าไม้จากแต่ละแม่ไม้ในจำ นวนที่เท่ากันก่อนนำ ไปปลูก
3x3 เมตร เสร็จเรียบร้อยปลูก2 เดือนก่อน18 เดือน เพาะในถุงพลาสติกขนาด 5x8 นิ้ว ความสูงเฉลี่ย 34.5 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางลำ ต้น0.2 เซนติเมตร จากแม่ไม้ตะเคียนทองลักษณะดี (Plus trees) จำ นวน 27 ต้น นำ
(
ตายทุกต้น
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
อภิสิทธิ์, 2531) ทั้งพืชเกษตรและกล้าไม้ตะเคียนทองหลังปลูก 1 เดือนทำ การตรวจสอบปลูกซ่อมต้นที่7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
4.
การตรวจเก็บข้อมูล
การตรวจเก็บมูลในแปลงทดลองได้กระทำ เป็นช่วงอายุต่างๆ กัน ครั้งล่าสุดเมื่อต้นไม้ตะเคียนทอง
อายุ
12 ปี ได้ดำ เนินการเมื่อเดือนตุลาคม 2543 คือ
-
อัตราการรอดตาย
-
ของลำ ต้นที่ระดับอก มีหน่วยเป็นเซนติเมตร
การเจริญเติบโต ( ความสูงรวม มีหน่วยเป็นเมตร และความโตเส้นผ่าศูนย์กลาง)
-
การบำ รุงรักษา ( การดายวัชพืช และอื่น ๆ)
-
โรคและแมลงที่เข้าทำ ลายต้นตะเคียนทอง
-
ผลผลิตเนื้อไม้และผลผลิตรองอื่นๆ
ผลและวิจารณ์
1.
อัตราการรอดตาย
จากการศึกษาอัตราการรอดตายของไม้ตะเคียนทองในแปลงทดลองหลังจากการปลูก
ปลูกเปรียบเทียบใต้ร่มเงากล้วยนํ้าว้า ใต้ร่มเงามะละกอที่ปลูกระหว่างกลางแถวปลูกต้นไม้ และการปลูกไม้
ตะเคียนทองกลางแจ้งตามปกติ ร่วมกับการดายวัชพืชโดยการดายวัชพืช
1 ปี โดยการ2 ครั้ง/ปี, 3 ครั้ง/ปี และ 4
ครั้ง
/ปี ผลปรากฏว่าไม้ตะเคียนทองที่ปลูกใต้ร่มเงากล้วยนํ้าว้าและมะละกอร่วมกับการดายวัชพืชปีละ 3
ครั้ง
ทั้งหมดมีอัตราการรอดตายแตกต่างกับไม้ตะเคียนทองที่ปลูกใต้ร่มเงากล้วยนํ้าว้าและมะละกอร่วมกับการ
ดายวัชพืชปีละ
2532)
, 4 ครั้ง และการปลูกกลางแจ้งที่ดายวัชพืชปีละ 4 ครั้งมีอัตราการรอดตายไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่2 ครั้ง และการปลูกกลางแจ้งที่ดายวัชพืชปีละ 2 และ 3 ครั้งอย่างมีนัยสำ คัญ (อภิสิทธิ์,โดยไม้ตะเคียนทองหลังการปลูกใต้ร่มเงากล้วยนํ้าว้าและมะละกอ 1 ปี มีอัตราการรอดตายเฉลี่ย
98%
ปลูกไม้ตะเคียนทองผสมกับการปลูกพืชเกษตรที่ให้ร่มเงาเช่นกล้วยนํ้าว้าหรือมะละกอร่วมกับการดายวัช
พืชปีละ
ดูแลรักษาในการกำ จัดวัชพืชบ่อยครั้ง
ให้ร่มเงาแก่ไม้ตะเคียนทองร่วมกับการดายวัชพืช
การสำ รวจอัตราการรอดตายหลังการปลูก
กล้าไม้ตะเคียนทองที่ตายทั้งหมด ค่าใช้จ่ายในการปลูกซ่อมใหม่จะเพิ่มต้นทุนในการดำ เนินงานปลูกสร้าง
สวนป่ามากกว่าค่าใช้จ่ายในการปลูกควบพืชเกษตรให้ร่มเงาแก่ไม้ตะเคียนทองอย่างแน่นอน นอกจากนี้ยัง
มีผลผลิตของพืชเกษตรที่ให้ร่มเงาควบกับการปลูกไม้ตะเคียนทองที่สามารถใช้เพื่อการบริโภคหรือจำ หน่าย
เป็นรายได้แก่ผู้ดำ เนินการอีกทางหนึ่งด้วย
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
และการปลูกกลางแจ้งมีอัตราการรอดตายเฉลี่ย 70.5% (64-77%) หากพิจารณาแล้วจะเห็นว่าการ3 ครั้งเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุด ทั้งนี้เพราะการปลูกกลางแจ้งต้องมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าสำ หรับการ(4 ครั้ง/ปี) เพื่อให้มีอัตราการรอดตายสูง ส่วนการปลูกพืชเกษตร4 ครั้ง/ปี เป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเกินความจำ เป็น1 ปี ที่ปรากฏผลการรอดตายตํ่ากว่า 80% ต้องทำ การปลูกซ่อม7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
เป็นที่น่าสังเกตว่าโดยธรรมชาติพันธุ์ไม้ตะเคียนทองในพื้นที่ภาคอีสานมีการกระจายพันธุ์ในป่าดิบ
แล้งซึ่งมีร่มเงาและความชื้นมากกว่าปกติ อันเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของไม้ตะเคียนทอง โดย
เฉพาะในระยะที่ยังเป็นกล้าไม้
ไม้ตะเคียนทองในระยะปีแรกจึงเป็นสิ่งสำ คัญมากที่จะส่งผลสืบเนื่องให้ปีต่อๆ ไปเหลือรอดตายในอัตราที่
สูงไปด้วย ซึ่งจากการดำ เนินงานปลูกไม้ตะเคียนทองผสมกับการปลูกพืชเกษตรที่ให้ร่มเงาระหว่างแถวปลูก
ต้นไม้ในปีแรก ผลปรากฏว่าอัตราการรอดตายเฉลี่ยของไม้ตะเคียนทองเมื่ออายุ
ข้างสูงประมาณ
(Seedlings) จนถึงระยะลูกไม้ (Sapling) ฉะนั้นสภาพแวดล้อมของการปลูก12 ปี จึงคงเหลืออยู่ค่อน95% (Table 1)
Table 1.
(Interplanted with bananas and papayas at early growth)
Survival rate of H.odorata at 1, 4, 8 and 12 years of age.
Survival (%)
Banana Papaya Planting in the open
Frequency
of weeding
per year 1* 4 8 12 1* 4 8 12 1* 4 8 12
2
34
78
98
98
88
96
97
86
96
96
86
95
95
76
97
98
89
97
98
84
96
97
84
95
96
64
77
97
72
84
96
71
83
93
71
83
93
* Survival rate less than 80%, replanting after one year of age.
2.
การเจริญเติบโต
2.1
การเจริญเติบโตทางความสูงของไม้ตะเคียนทองอายุ
มะละกอร่วมกับการดายวัชพืชปีละ
วัชพืชปีละ
ตะเคียนทองที่ปลูกภายใต้ร่มเงากล้วยและมะละกอร่วมกับการดายวัชพืชปีละ
แจ้งร่วมกับการดายวัชพืชปีละ
และมะละกอ
นั้น ทั้งนี้เพราะว่าเรือนยอดไม้ตะเคียนทองเริ่มขยายแผ่กว้างและต้องการแสงมากขึ้น แต่การเพิ่มขึ้นของ
ความสูงของไม้ตะเคียนทองที่ปลูกใต้ร่มเงาพืชเกษตรปีแรก ร่วมกับการดายวัชพืช
เมื่อมีอายุตั้งแต่ปีที่
กับการดายวัชพืชปีละ
ของความสูงคือจำ นวนชั้นเรือนยอด จึงเป็นระยะเวลาที่เหมาะแก่การตัดแต่งกิ่ง
ลำ ต้นเปลา
ไปในลักษณะเดียวกับเมื่อตะเคียนทองอายุ
การเจริญเติบโตทางด้านความสูง1 ปี ที่ปลูกภายใต้ร่มเงาของกล้วยนํ้าว้าและ3 ครั้ง และ 4 ครั้ง และไม้ตะเคียนทองที่ปลูกกลางแจ้งร่วมกับการดาย4 ครั้ง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่ทั้งหมดแตกต่างอย่างมีนัยสำ คัญกับความสูงของไม้2 ครั้ง และการปลูกกลาง2 ครั้ง และ 3 ครั้ง ถึงแม้ว่าการปลูกพืชเกษตรเรือนยอดกว้าง (เช่น กล้วย) ระหว่างแถวปลูกไม้ตะเคียนทอง (3x3 เมตร) สามารถดำ เนินการได้เฉพาะปี 1-ปี 2 เท่า3 ครั้งและ 4 ครั้งต่อปี4 ถึงปีที่ 8 มีค่ามากกว่าการเพิ่มของความสูงของไม้ตะเคียนทองที่ปลูกกลางแจ้งร่วม4 ครั้ง และในปีที่ 4 ไม้ตะเคียนทองที่ปลูกระยะ 3x3 เมตร พร้อมๆ กับการเพิ่มขึ้น(Pruning) เพื่อให้รูปทรง(อภิสิทธิ์, 2535) และเมื่อทำ การตรวจวัดความสูงไม้ตะเคียนทองที่อายุ 12 ปี พบว่ามีผลเป็น1 ปี (Table 2)
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
หากพิจารณาถึงประสิทธิภาพของการดำ เนินงานในด้านการปลูกบำ รุงแล้ว จะเห็นว่าการปลูกไม้
ตะเคียนทองภายใต้ร่มเงาพืชเกษตรร่วมกับการดายวัชพืชปีละ
การเจริญเติบโตทางความสูงเฉลี่ย
3 ครั้ง มีประสิทธิภาพสูงที่สุด และให้ผล8.79 เมตร (8.75–8.83 เมตร)
Table 2.
(Interplanted with bananas and papayas at early growth)
Mean height of H. odorata at 1, 4, 8 and 12 years of age.
Height ( m.)
Banana Papaya Planting in the open
Frequency
Of weeding
Per year 1 4 8 12 1 4 8 12 1 4 8 12
2
3
4
1.30
1.36
1.36
3.90
4.50
4.60
6.12
6.30
6.28
7.52
8.83
8.84
1.28
1.35
1.35
3.80
4.40
4.60
6.10
6.15
6.31
7.40
8.75
8.78
1.15
1.20
1.34
3.20
3.70
4.40
4.30
5.60
6.25
6.80
7.36
8.75
2.2
การเจริญเติบโตทางด้านเส้นผ่าศูนย์กลางลำ ต้นเมื่อไม้ตะเคียนทองอายุ
เดียวกับการเจริญเติบโตทางด้านความสูง คือ ไม้ตะเคียนทองที่ปลูกภายใต้ร่มเงาของกล้วยนํ้าว้าและ
มะละกอร่วมกับการดายวัชพืชปีละ
วัชพืชปีละ
มีนัยสำ คัญกับความโตของเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของไม้ตะเคียนทองที่ปลูกภายใต้ร่มเงากล้วยและมะละกอ
ร่วมกับการดายวัชพืชปีละ
การเจริญเติบโตทางด้านเส้นผ่าศูนย์กลางลำ ต้น1 ปี เป็นไปในลักษณะ3 ครั้ง และ 4 ครั้ง และไม้ตะเคียนทองที่ปลูกกลางแจ้งร่วมกับการดาย4 ครั้ง ความโตของเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่ทั้งหมดแตกต่างอย่าง2 ครั้ง และการปลูกกลางแจ้งร่วมกับการดายวัชพืชปีละ 2 ครั้ง และ 3 ครั้ง
(Table 3)
เมื่ออายุ 12 ปีปรากฏผลการเจริญเติบโตทางด้านเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ย 11.27 เซนติเมตร
(11.25–11.29
เซนติเมตร)
Table 3.
(Interplanted with bananas and papayas at early growth)
Mean diameter at breast height (DBH.) of H. odorata at 1, 4, 8 and 12 years of age.
DBH. (m.)
Banana Papaya Planting in the open
Frequency
of weeding
per year 1 4 8 12 1 4 8 12 1 4 8 12
2
3
4
1.50
1.50
1.50
2.40
2.50
2.60
8.30
9.40
9.60
10.20
11.25
11.26
1.50
1.50
1.50
2.40
2.40
2.50
8.10
9.20
9.30
10.15
11.29
11.27
1.20
1.40
1.40
2.00
2.10
2.30
6.90
7.30
8.60
9.70
10.15
11.27
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
3.
โรคและแมลงในแปลงปลูกไม้ตะเคียนทอง
3.1
สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ติดมากับเมล็ดไม้ตะเคียนทองที่เก็บจากพื้นดินโคนต้นแม่ไม้
เมื่อนำ ไปเพาะเตรียมกล้าไม้แล้วเชื้อโรคแพร่ขยายไปในแปลงปลูกป่า
ที่แปลงทดลองยังไม่พบว่ามีการระบาดของโรคที่เป็นอันตรายขั้นรุนแรงต่อต้นไม้ตะเคียนทองที่ปลูกไว้
โรคพืช(สุรชัย และคณะ, 2542) แต่ในพื้น
3.2
จากการติดตามตรวจสอบการเข้าทำ ลายของแมลงศัตรูพืช พบว่าหลังจากไม้ตะเคียนทองที่ปลูกไว้
มีอายุประมาณ
กัดทำ ลายระบบรากของต้นไม้ตะเคียนทองที่ปลูกไว้ได้รับความเสียประมาณ
ขึ้นไปไม่ปรากฏการระบาดทำ ลายของปลวกอีกเลย ในช่วงระหว่างอายุ
เจาะลำ ต้น
อ่อนแอเมื่อถูกลมพัด ลำ ต้นจะหักโค่นบริเวณที่ถูกเจาะเป็นผลให้ต้นไม้เสียรูปทรงและเนื้อไม้เกิดตำ หนิ
แมลงศัตรูพืช1 ปี ในแปลงที่ไม่ปลูกพืชเกษตรให้ร่มเงาและดายวัชพืชปีละ 2 ครั้ง ในช่วงฤดูแล้งมีปลวก5% แต่เมื่อต้นไม้มีอายุ 2 ปี8 ปีมีการระบาดของแมลงประเภท(Stem Borers) ซึ่งเป็นตัวอ่อนของด้วงหนวดยาว (Dorysthenes sp.) เจาะทำ ลายทำ ให้ลำ ต้น
4.
ผลผลิตเนื้อไม้และผลผลิตรองอื่นๆ
4.1
จากการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของไม้ตะเคียนทองอายุ
ผลผลิตเนื้อไม้12 ปี (พ.ศ 2532–2543) ระยะปลูก
3x3
production)
เมตร
เมตรทำ การคำ นวณผลผลิตออกมาในรูปพื้นที่หน้าตัดและปริมาตร (Basal area and volumeได้ค่าเฉลี่ยพื้นที่หน้าตัด 10.54 ตารางเมตร/แฮกแตร์ และปริมาตรเฉลี่ย 92.65 ลูกบาศก์/แฮกแตร์ หรือปริมาตรเฉลี่ย 14.82 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ (Table 4)
Table 4.
Basal area and volume production of H. odorata at 12 year of age
Planted Survival Height DBH. BA / tree BA. / ha. Volume/ha. Volume/rai.
per rai (%) (m.) (cm.) (cm.)
2 (m.)2 (m.)3 (m.)3
177 95 8.79 11.27 99.80 10.54 92.65 14.82
4.2
ไม้ตะเคียนทองในแปลงทดลองเมื่อมีอายุตั้งแต่
เดือนมกราคม
ไม้ตะเคียนทองผลิตนํ้าผึ้ง และเมื่อเริ่มเข้าเดือนเมษายน
ไม้ตะเคียนทองมีเห็ดโคน
ผลผลิตรองอื่นๆ5 ปีเป็นต้นไป จากการเก็บข้อมูลพบว่าในช่วง–ธันวาคม อากาศยังแห้งและเย็น มีตัวมิ้ม (Apis flore) มาอาศัยทำ รังบนกิ่งของเรือนยอด–พฤษภาคม บนพื้นดินใต้เรือนยอดในแปลงปลูก(Termitomyces furtiginosus) เห็ดถ่าน (Russuta densifolia) และเห็ดนํ้าหมาก
(
Agaricus silvicora) งอกกระจายในช่วงเวลาเช้าทุกวัน เห็ดเหล่านี้ใช้บริโภคเป็นอาหารได้อย่างดี (วนิดา,
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
2542)
หวายได้รับความชุ่มชื้นจากพื้นดิน และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในแปลงปลูกไม้ตะเคียนทอง เพียงแค่
หวายเขียวเจริญเติบโตมีอายุ
เมื่อมีอายุมากขึ้นจะมีชันไหลออกมาจากเปลือกลำ ต้นที่แตกออก ประโยชน์ของชันตะเคียนทองใช้ในการ
ผสมนํ้ามันทาไม้ ยาแนวเรือ ทำ นํ้ามันชักเงา
นอกจากนี้ยังมีหน่อหวายเขียว (Calamus sp.) ที่งอกเองจากการแพร่พันธุ์โดยสัตว์ป่าเมื่อเมล็ด2 ปีสามารถตัดยอดอ่อนไปประกอบเป็นอาหาร นอกจากนั้นต้นตะเคียนทอง(พันธ์ศักดิ์, 2542)
สรุป
1.
โตเฉลี่ยของเส้นผ่าศูนย์กลางลำ ต้นที่ระดับคอราก
เกษตรเรือนยอดกว้าง
เวลา
หลังจากปลูกอายุ
2.
การปลูกโดยใช้กล้าไม้ตะเคียนทองอายุ 18 เดือน (ความสูงเฉลี่ย 34.5 เซนติเมตร และความ0.2 เซนติเมตร) ระยะปลูก 3x3 เมตร พร้อมปลูกพืช(เช่น กล้วย มะละกอ) ระหว่างแถวปลูกเพื่อเป็นร่มเงาแก่ไม้ตะเคียนทองในระยะ1-2 ปีแรก ร่วมกับการดายวัชพืชถากโคนไปตามแนวยาวของแถวปลูกข้างละ 1 เมตร ปีละ 3 ครั้ง1 ปี ไม้ตะเคียนทองมีอัตราการรอดตาย 98%เมื่อไม้ตะเคียนทองอายุ 12 ปี ระยะปลูก 3x3 เมตร มีอัตราการรอดตาย 95% ความสูงเฉลี่ย
8.79
เมตร ความโตเฉลี่ยของเส้นผ่าศูนย์กลางลำ ต้นที่ระดับอก 11.27 เซนติเมตร และมีผลผลิตเนื้อไม้
92.65
ลูกบาศก์เมตร/แฮกแตร์ หรือ ปริมาตรเฉลี่ย 14.82 ลูกบาศก์เมตร/ไร่
3.
ได้หลายชนิดงอกขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นผลิตผลรองเพื่อการบริโภคในครัวเรือนและ
รายได้เสริมแก่ผู้ประกอบการ
ในแปลงปลูกป่าไม้ตะเคียนทองที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปีเป็นต้นไป ในช่วงฤดูฝนมีเห็ดและพืชผักกิน/หรือจำ หน่ายเป็น
4.
ต่อไปอีกด้วย
การศึกษาครั้งนี้ได้ดำ เนินการในพื้นที่แห่งเดียวเท่านั้น ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในพื้นที่อื่นๆ.
คำ นิยม
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่าน ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ด้านวิชาการป่าไม้ในสมัยที่ศึกษาอยู่ที่
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และแม้ว่าได้จบการศึกษาออกมาประกอบอาชีพรับราชการแล้ว
ก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งรองศาสตราจารย์ ดร
ทางให้ได้ทราบถึงความสำ คัญและให้ความสนใจศึกษาพันธุ์ไม้ในวงศ์ไม้ยาง
ได้จัดหาตำ รา
ความรู้ด้วย
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
.สุวิทย์ แสงทองพราว ที่ได้ให้ความกรุณาโดยได้ชี้แนะแนว(Dipterocarpaceae) พร้อมทั้งThe Manual of Dipterocarpaceae of Mainland South-east Asia มอบให้ไว้เพื่อศึกษาหา7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
เอกสารอ้างอิง
กรมป่าไม้
ทรงครองราชย์ ปีที่
. 2539. โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาศ50. กรมป่าไม้, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ. 295 หน้า.
เจษฎา เหลืองแจ่ม
วิวัฒน์
ไทยงาม
พัฒนาป่าชุมชนพ
, สุรีย์ ภูมิภมร, เตือนใจ เจนรัตน์, ลดาวัลย์ อธิพันธ์อำ ไพ และ สุดารัตน์ งามขจร. 2527. ดอกและการพัฒนาดอกไม้ตะเคียนทอง. อ้างโดย เจษฎา เหลืองแจ่ม และ รัตนะ. ตะเคียนทอง น. 82-87 ใน การปลูกไม้ป่า. หนังสือคู่มือเจ้าหน้าที่ของรัฐตามโครงการ.ศ. 2536. กรมป่าไม้. กรุงเทพฯ.
ณรงค์ โทนานนท์
ประเทศไทย
ผลป่าไม้
, ศิริ เจือวิจิตรจันทร์, สุชาติ ไทยเพชร์ และ ศักดิ์พิชิต จุลฤกษ์. 2528. ไม้เนื้อแข็งของ. เอกสารเผยแพร่ เลขที่ ร. 188. ธันวาคม 2528. ฝ่ายวิจัยไม้ขั้นพื้นฐาน, กองวิจัยผลิต, กรมป่าไม้. 127 หน้า.
ณรงค์ เพ็งปรีชา
. 2542. กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกับวงศ์ไม้ยาง. วนสาร. 57(2): 44-54.
บุญชุบ บุญทวี
12
. 2540. ไม้ไทยที่ควรปลูก. เอกสารเผยแพร่วิชาการป่าไม้. สำ นักวิชาการป่าไม้, กรมป่าไม้.หน้า.
ประโชติ ซุ่นอื้อ
การแตกรากของไม้ตะเคียนทอง
, สุพัตรา ลิมปิยประพันธ์ และ มุสตาฟา คานทาลี. 2542. การปักชำ กิ่งและความผันแปรใน, น. 79-96. ใน รายงานวนวัฒนวิทยาประจำ ปี 2539 ครั้งที่ 6.
ระหว่างวันที่
21-24 พฤษภาคม 2539. อุดรธานี.
พิทยา เพชรมาก
ปลูกป่าภาคเอกชน
. 2540. วนเกษตรกลยุทธเพื่อลดความเสี่ยงต่อการปลูกป่าเอกชน. เอกสารเผยแพร่ส่วน, กรมป่าไม้. กรุงเทพฯ. 124 หน้า.
พันธ์ศักดิ์ ธรรมรัตน์
การสัมมนา เรื่องวัฒนธรรมไทยกับไม้วงศ์ยาง เมื่อวันที่
ศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
เกษตรศาสตร์ และโครงการ
. 2542. วัฒนธรรมในการใช้สมุนไพร ตำ รายาและพิธีกรรม, น. 59-68. ใน รายงาน1-2 กรกฎาคม 2542 โดยศูนย์ฝึกอบรมวน, สำ นักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร, มหาวิทยาลัยThink Earth.
เพิ่มพูน กีรติกสิกร
. 2527. ดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. คณะเกษตร,
มหาวิทยาลัยข่อนแก่น
. 250 หน้า.
วนิดา สุบรรณเสณี
เรื่องวัฒนธรรมไทยกับไม้วงศ์ยาง เมื่อวันที่
ชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
เกษตรศาสตร์ และโครงการ
. 2542. วัฒนธรรมการใช้ประโยชน์ไม้วงศ์ยาง, น .37-40. ใน รายงานการสัมมนา1-2 กรกฎาคม 2542 โดยศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุม, สำ นักพิพิธภัณฑ์และวัฒนธรรมการเกษตร, มหาวิทยาลัยThink Earth.
รายงานการสัมมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่
7 Proceedings of the 7th Silvicultural Seminar
*************************************************************************************************************
สนใจกล่าพันธุ์ไม้ปลูกป่าเศรษฐกิจทุกชนิด
ติดต่อคุณไก่ 095-46545456
ความคิดเห็น